จากจิตวิทยา สู่จิตภาวนา

LanguageThai
Abstract

 ...สภาพชีวิตจิตใจของคนในสังคมอเมริกันปัจจุบัน มีสถานภาพที่เป็นปัญหาสำคัญ เนื่องจากบุคคลไม่ได้รับการสนองความต้องการพื้นฐานทั้ง ๓ อย่าง คือ ความต้องการความหมาย (Need for community, structure and meaning) โดยมีอาการแห่งความทุกข์แบบต่างๆ ปรากฎออกมา...

...ประการที่ ๑ คือ มีความรู้สึกว้าเหว่โดดเดี่ยว...
..วิธีแก้ปัญหาสำหรับคนที่อ้างว้างว้าเหว่โดดเดี่ยว ที่ได้พูดออกมาเป็นตัวอย่างนั้น ว่าโดยสรุปแบบง่ายๆ สามารถใช้วิธีปฏิบัติที่แยกเป็น ๓ ขั้นตอน คือ
  • คนอื่นในสังคมที่เป็นคนเต็มภายในแล้ว มาช่วยเป็นกัลยาณมิตรแก่เขา หรือสังคมเป็นกัลยาณมิตร ในขั้นนี้เขายังมีความพึ่งพาผู้อื่นอยู่มาก
  • ตัวเขาเองรู้จักเลือกหากัลยาณมิตร คือรู้จักคบคน หรือแหล่งที่เป็นกัลยาณมิตร ในขั้นนี้เขาเริ่มรู้จักพึ่งตนเอง และมีทิศทางที่แน่นอน
  • บุคคลนั้นรู้จักคิดรู้จักพิจารณาด้วยตนเอง เป็นอยู่อย่างรู้เข้าใจเท่าทันโลกและชีวิต ในขั้นนี้เขาเป็นอิสระพึ่งตนเองได้แล้ว
Sourcefrom ธรรมเทศนา for เพื่อการถ่ายทำวิดีทัศน์ สำหรับนิสิตในโครงกรรฝึกปฏิบัติทางจิตตามแนวพุทธศาสตร์ ภาควิชาจิตวิทยาการศึกษาและการแนะแนว มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ตอน "จิตวิทยากับการเจริญภาวนา" at สถานพำนักสงฆ์สายใจธรรม เขาสำโรงดงยาง อ. พนมสารคาม จ. ฉะเชิงเทรา
Developmentพิมพ์ครั้งแรก ๑๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๓๕
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์
ร่วมอุทิศกุศลในพิธีทักษิณานุประทาน สัตตมวาร นายสำราญ อารยางกูร

พิมพ์ครั้งที่ ๒ (ปรับปรุงเพิ่มเติม) มีนาคม ๒๕๓๕
กองทุนศาสตราจารย์ ดร.อุบล เรียงสุวรรณ
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

พิมพ์ครั้งที่ ๓ (ปรับปรุงเพิ่มเติม) เมษายน ๒๕๓๕
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์
ร่วมอุทิศกุศลในงานพระราชทานเพลิงศพ พระพรหมคุณาภรณ์ วัดพระนารายณ์มหาราช จ.นครราชสีมา

พิมพ์ครั้งที่ ๔ (ปรับปรุงเพิ่มเติม) เมษายน ๒๕๓๕
ทุนส่งเสริมพุทธธรรม
First publishingFebruary 2535
Latest publishing onPublishing no. 19 May 2562
ISBN9747890-53-4, 974-553-011-5
Dewey no.BQ4570.P76