พัฒนาคุณภาพชีวิต ด้วยจิตวิทยาแบบยั่งยืน

LanguageThai
Abstract
"...จิตวิทยาเคยถึงกับมองข้ามความสัมพันธ์ระหว่าง จิตกับกาย ไปแล้ว มาระยะหนึ่งก็ได้เกิดการค้นพบว่า จิตกับกายนี่มีความสัมพันธ์มีผลต่อกันมาก เราก็หันมาสนใจเรื่องจิตกับกายกันมาก อะไรที่เกิดขึ้นทางจิตก็มีผลกับกาย เช่น โรคภัยไข้เจ็บ หรือ ความเป็นไปทางร่างกาย การที่เอาใจใส่เรื่องความสัมพันธ์ระหว่าง กายกับจิต จึงมีมากขึ้น แต่ในทางพระพุทธศาสนา ถือว่ามีองค์ประกอบอีกอย่างหนึ่ง คือ ปัญญา เรื่องความรู้ความเข้าใจ ซึ่งเป็นองค์ประกอบ หรือเป็นปัจจัยที่สำคัญอย่างยิ่งในระบบนี้ เรื่องของชีวิตมนุษย์ในด้านจิตใจนี้ เราไม่สามารถแยกออกจากชีวิต โดยองค์ประกอบของมนุษย์ คือ ตัวมนุษย์ทั้งหมด แต่จะต้องมองให้ครบตลอดสาย ทั้งเรื่องของพฤติกรรม เรื่องจิตใจ และเรื่องของปัญญา ถ้าจิตวิทยาไปเน้นอย่างใดอย่างหนึ่ง ก็ิอาจจะเกิดภาวะที่ทำให้เกิดภาวะแหว่งวิ่น หรือไม่ตลอดสาย..."
Sourcefrom ธรรมกถา ปาฐกถา for คณบดีทั้งอดีตและปัจจุบัน คณาจารย์ นิสิต และผู้เข้าร่วมประชุม at คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
First publishingSeptember 2543
Latest publishing onPublishing no. 3 September 2543
ISBN974-553-843-4, 974-7892-08-1
Dewey no.BQ4570.P76