มาตรฐานชีวิตของชาวพุทธ

ภาษาไทย
คำโปรย
...คฤหัสถ์นั้นดำเนินชีวิตต่างออกไปแบบหนึ่ง และอยู่ในสภาพแวดล้อมอีกแบบหนึ่ง เพราะฉะนั้นจึงมีหลักความประพฤติบางอย่าง โดยเฉพาะในส่วนเบื้องต้นและที่เป็นด้านภายนอก เช่น ในระดับศีล ซึ่งเป็นเรื่องของคฤหัสถ์ที่จะประพฤติต่างจากพระภิกษุ เพราะฉะนั้นเมื่อลาสิกขา แล้วจึงเริ่มด้วยการมารอสมาทานศีล ๕ ซึ่งเป็นหลักความประพฤติเบื้องต้นของคฤหัสถ์ ... ศีล ๕ นี้เป็นหลักประกันให้สังคมอยู่ร่วมกันด้วยดี มีความสงบสุขพอสมควร ให้แต่ละคนพอเป็นอยู่ได้ โดยไม่เบียดเบียนกันมากนัก สังคมจะได้ไม่เดือดร้อนมากเกินไป เมื่อมีศีล ๕ เป็นหลักประกันแล้ว เราก็มีโอกาสที่จะทำความดีขยายกว้างออกไป...
ที่มาจาก ธรรมกถา ปาฐกถา แก่ ร้อยตรี วิทยา บุญมาก ณ สถานพำนักสงฆ์สายใจธรรม เขาสำโรงดงยาง อ.พนมสารคาม จ.ฉะเชิงเทรา
เปลี่ยนไปสู่วินัยชาวพุทธ
ข้อมูลพัฒนาการ
  • พิมพ์ครั้งแรก (มกราคม ๒๕๓๗) จัดพิมพ์โดย คุณกานดา อารยางกูร, คุณบุบผา คุณธวัช คณิตกุล, คุณละเอียด และ ร้อยโท วิทยา บุญมาก เพื่อแจกเป็นธรรมทาน ในมงคลวารขึ้นปีใหม่ พ.ศ. ๒๕๓๗
  • พิมพ์ครั้งที่ ๒ (พฤศจิกายน ๒๕๓๙) จัดพิมพ์โดย มูลนิธิพุทธธรรม
  • พิมพ์ครั้งที่ ๓ (เมษายน ๒๕๔๑) จัดพิมพ์โดย มูลนิธิพุทธธรรม
  • พิมพ์ครั้งแรก (กรกฎาคม ๒๕๔๒) มีการปรับปรุง-เพิ่มเติม พิมพ์รวมเล่มกับเรื่อง "สอนนาค : ชีวิตพระ" ในหนังสือ "สอนนาค-สอนฑิต : ชีวิตพระ-ชีวิตชาวพุทธ" ในชื่อใหม่ว่า "สอนฑิต : ชีวิตชาวพุทธ" เพื่อแจกเป็นธรรมทาน ในงานอุปสมบทนาคนริศ จรัสจรรยาวงศ์
  • "มาตรฐานชีวิตของชาวพุทธ" มี ๒ ฉบับ คือ ฉบับที่ปรับปรุงเป็น "สอนฑิต :ชีวิตชาวพุทธ" ซึ่งนำไปพิมพ์รวมเล่มกับเรื่อง "สอนนาค : ชีวิตพระ" ในหนังสือ "สอนนาค-สอนฑิต : ชีวิตพระ-ชีวิตชาวพุทธ" และ ฉบับที่คัดแยกมาเฉพาะภาคผนวกของฉบับเดิมนี้ แล้วปรับปรุง-เพิ่มเติม เป็นฉบับ ๒ ภาษา ก่อนที่จะปรับปรุง-เพิ่มเติม อีกครั้ง พร้อมทั้งตั้งชื่อใหม่ว่า "วินัยชาวพุทธ"
พิมพ์ครั้งแรกมกราคม ๒๕๓๗
พิมพ์ล่าสุดครั้งที่ ๔ เมษายน ๒๕๔๑
ISBN974-7890-73-9, 974-8338-06-1
เลขหมู่BQ4570.L5