เศรษฐศาสตร์แนวพุทธ = Buddhist Economics

ภาษาไทย-อังกฤษ
คำโปรย
...กิจกรรมทางเศรษฐกิจนั้น เป็นกิจกรรมที่ครองเวลาส่วนใหญ่ในชีวิตของมนุษย์ เวลาส่วนใหญ่ในชีวิตของมนุษย์นั้น ใช้ไปในกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ถ้าจะให้เศรษฐศาสตร์มีคุณค่าอย่างแท้จริงในการแก้ไขปัญหามนุษย์ ก็จะต้องให้กิจกรรมทางเศรษฐกิจทุกอย่าง ไม่ว่าจะเป็นการผลิตก็ดี การทำงานก็ดี การบริโภคก็ดี การแจกจ่ายก็ดี เป็นกิจกรรมในการสร้างสรรค์คุณภาพชีวิต และพัฒนาศักยภาพเพื่อชีวิตที่ดีงาม เราสามารถทำให้กิจกรรมในทางเศรษฐกิจทุกอย่าง เป็นกิจกรรมในการพัฒนาคุณภาพชีวิตได้ตลอดเวลา และนี่เป็นทางหนึ่งที่จะทำให้เศรษฐศาสตร์มีคุณค่าที่แท้จริง...
ที่มาจาก ธรรมกถา ปาฐกถา แก่ ท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์, นายกสภามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และผู้เข้าร่วมประชุม ณ หอประชุมเล็ก มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์ กรุงเทพมหานคร
แปลจาก - เศรษฐศาสตร์แนวพุทธ
by J. B. Dhammavijaya
ข้อมูลพัฒนาการ
  • พิมพ์ครั้งแรก (สิงหาคม ๒๕๓๑) พากย์ไทย จัดพิมพ์โดย สำนักพิมพ์มูลนิธิโกมลคีมทอง
  • พิมพ์ครั้งแรก (พ.ศ. ๒๕๓๗) พากย์ ไทย-อังกฤษ จัดพิมพ์โดย คณะกรรมการเอกลักษณ์แห่งชาติ
  • พิมพ์ครั้งที่ ๗ (๒๕๔๓) พากย์ไทย ปรับรูปแบบเนื้อหาเดิมและเขียนส่วนเพิ่มต่อท้ายเป็น บทพิเศษ
  • พิมพ์ครั้งที่ ๙ (มีนาคม ๒๕๔๘) พากย์ไทย มีการปรับปรุง-เพิ่มเติม, พากย์อังกฤษ คือ Buddist Economics ฉบับ 1st Edition แปลโดย J.B. Dhammavijaya (๒๕๓๕)
  • พิมพ์ครั้งที่ ๑๐ (มกราคม ๒๕๕๑) ตรงกับฉบับการพิมพ์ครั้งที่ ๙
  • ดูรายละเอียดเพิ่มเติมจาก "ความเป็นมาของหนังสือ"
  • พิมพ์ครั้งที่ ๑๕ (มกราคม ๒๕๕๙) เพิ่มเติมเนื้อหาแปลภาษาอังกฤษของ บทพิเศษ โดย Robin Moore
พิมพ์ครั้งแรกสิงหาคม ๒๕๓๑
พิมพ์ล่าสุดครั้งที่ ๒๑ ธันวาคม ๒๕๖๖
ISBN974-87948-7-3, 974-344-385-1
เลขหมู่BQ4570.E25