Dhamma Talks

Track no.: ๘ จาริกบุญ จารึกธรรม

ที่ประกาศอิสรภาพของมนุษย์

Length ๒:๐๓:๐๕

LanguageThai
In CDจาริกบุญ จารึกธรรม
Abstract[0:01:00] สิ่งสำคัญใดที่ควรจะได้รับ เมื่อไปเยือนสังเวชนียสถานทั้ง ๔ แห่ง
[0:11:24] อาศัยรูปกายทำธรรมกายให้ปรากฏ เพิ่มพูนมั่นคงจนถึงมรรคผลนิพพาน
[0:18:48] เดินทางแม้ได้รับทุกขเวทนา ก็ถือว่าบำเพ็ญบารมีถวายเป็นพุทธบูชา
[0:23:34] การคิดแบบโยนิโสมนสิการเป็นปัจจัยสำคัญในการตรัสรู้ของพระพุทธเจ้า
[0:34:56] ความคิดเชิงปัญญา (โยนิโสมนสิการ) แตกต่างอย่างไรกับ ความคิดปรุงแต่ง
[0:39:27] เจ้าชายสิทธัตถะประสูติมาเพื่อประกาศอิสรภาพให้กับมวลมนุษย์
[0:45:10] จากเทพมาสู่ธรรม...จากบวรสรวงอ้อนวอนพระพรหมและเทพเจ้าสู่หลักกรรมและความเพียร
[0:53:04] สิ่งกล่อมมีทั้งดีและร้าย ต้องรู้จักเลือกใช้สิ่งที่ดี และไม่หลงติดเพลิน
[1:00:33] คิดปรุงแต่งอย่างไรให้เป็นบุญเป็นกุศล ปรุงแต่งเป็นความสุข ทำให้ใจสบาย
[1:10:31] ชาวพุทธต้องไม่อ้อนวอนร้องขอ แต่ใช้การอธิษฐานนำไปสู่การพัฒนาตนให้ได้ประโยชน์ยิ่ง
[1:23:43] อกุศลเป็นปัจจัยแก่กุศลก็ได้ หรือ กุศลธรรมเป็นปัจจัยแก่อกุศลก็ได้ ต้องไม่ประมาท
[1:28:38] เข้าใจให้ถูกต้อง “มัชฌิมาปฏิปทา” คือ ทางแห่งความพอดี หรือ ดุลยภาพ
[1:40:37] ใช้ธรรมะต้องใช้ให้ครบทั้งชุดจึงจะถูกต้อง ได้ผล และไม่เสียธรรม
[1:50:32] สันโดษแล้วเป็นสุข แต่ต้องไม่สันโดษในกุศลธรรม สิ่งสำคัญสันโดษแล้วต้องมีความเพียร

----------------------------------

[0:50:29 - 0:51:03] ที่พระพุทธเจ้าประสูติตอนแรกเป็นเจ้าชายสิทธัตถะเปล่งอาสภิวาจา ก็คือ ประกาศอิสรภาพของมนุษย์ ว่ามนุษย์นี่อย่าไปมัวขึ้นต่อพระพรหม ไปหวังอำนาจดลบันดาลมัวแต่บูชายัญอยู่ ให้มามองที่ตัวธรรมะ ตัวความจริง สัจธรรมกฎธรรมชาตินี้ ให้พัฒนาปัญญาของตนขึ้นมา พอพัฒนาปัญญาของตนขึ้นมา มนุษย์เข้าถึงตัวธรรมะ รู้ตัวความจริง มนุษย์ก็กลายเป็นสัตว์ประเสริฐ เป็นพุทธะได้ ก็กลายเป็นผู้ที่แม้แต่เทวดาและพระพรหมจะเคารพบูชา
from Speech for คณะญาติโยมผู้ร่วมเดินทาง at สวนลุมพินี ในเขตประเทศเนปาล
Preceding Clipถ้าสังเวชเป็น ก็จะได้เห็นธรรมกาย
Next Clipทางสายกลาง เพื่อชีวิตสังคมที่สุขสมบูรณ์
The content of this site, apart from dhamma books and audio files, has not been approved by Somdet Phra Buddhaghosacariya.  Such content purpose is only to provide conveniece in searching for relevant dhamma.  Please make sure that you revisit and cross check with original documents or audio files before using it as a source of reference.